fbpx

Category - Update

ชะตากรรมผู้หญิงอุยกูร์ เพื่อนร่วมโลกที่คนแทบทั้งโลกไม่แยแส

เดือนรอมฎอนปีนี้ เราขอนำเสนอเรื่องราวของหญิงชาวอุยกุร์ท่านหนึ่ง เธอเป็นแม่ลูกห้าที่ต้องระเห็จระเหินจากบ้านเกิดเมืองนอนประเทศเตอกิสถานตะวันออกของตน มาอาศัยอยู่ในเมืองอิสตันบูลประเทศตุรกี เธอเป็นผู้หญิงที่ผู้สัมภาษณ์เล่าว่า ทั้งแกร่ง และกล้าหาญ...

การต่อสู้เพื่อหาจุดกึ่งกลาง ความในใจของชายมุสลิมที่ถูกสังคมเรียกว่า “เกย์”

ช่วงปลายปี 90 ขณะที่ผู้นำมุสลิมแถบอเมริกาเหนือชื่อดังท่านหนึ่งกำลังบรรยายต่อหน้าฝูงชนในห้องประชุมใหญ่ นักบรรยายท่านนั้นได้เล่าให้ฟังถึงประสบการณ์และความรู้สึกขยะแขยงที่ต้องนั่งข้างผู้ชายเกย์คนหนึ่งบนเครื่องบิน ในห้องประชุมวันนั้น...

5 วัฒนธรรมรอมฎอนเฉพาะถิ่น จากหลากหลายชาติพันธุ์มุสลิมทั่วโลก

ด้วยประชากรเกือบสองพันล้านคนทั่วโลก อิสลามจึงกลายเป็นศาสนาที่มีความหลากหลายของผู้คนมากที่สุดในโลก ทั้งในแง่ของชาติพันธุ์ ภาษา อาหาร และวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่ผ่านการปรับและเปลี่ยนให้เข้ากับหลักธรรมคำสอนทางศาสนา และนั่นทำให้เราอยากชวนไปดู 5...

ตาตาร์ไครเมียในสงครามยูเครน-รัสเซีย : ชะตากรรมมุสลิมบนแผ่นดินแห่งความขัดแย้ง

มุสลิมหลายคนอาจไม่เคยได้ยินชื่อของชาวตาตาร์ไครเมียมาก่อน จนกระทั่งรัสเซียส่งกองทัพบุกเข้าโจมตียูเครนเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา ชื่อของชาวตาตาร์ไครเมียจึงถูกพูดถึงในฐานะประชากรมุสลิมหลักของยูเครน...

อคติเหมารวมคือการกดขี่ผู้หญิงมุสลิม

หนึ่งในคำสอนของอิสลามที่ถูกเข้าใจผิดมากที่สุดคือการปฏิบัติต่อสตรีมุสลิมด้วยท่าทีที่ค่อนข้างข่มเหงและทารุณ ชาวตะวันตกมักมองว่าผู้หญิงมุสลิมถูกลิดรอนสิทธิ์ของตน ด้วยการนำเสนอภาพของสตรีมุสลิมในฐานะที่ตกอยู่ภายใต้คำสั่งของผู้ชายอย่างร้อยเปอร์เซ็นต์...

วิกฤตมนุษยธรรม หายนะที่กำลังซ้ำเติมอัฟกานิสถาน

จากความไร้เสถียรภาพจากความขัดแย้งอันยาวนาน ไปจนถึงภัยธรรมชาติ ความแห้งแล้ง และอุทกภัย ชาวอัฟกันในวันนี้ต้องเผชิญกับหลากหลายวิกฤตที่อาจนำไปสู่จำนวนผู้เสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น หลังหมดงบประมาณไปมหาศาลและสูญเสียไปหลายร้อยชีวิต ในสองทศวรรษแห่ง...

ตอลิบาน ชารีอะห์ และการกดขี่ผู้หญิง : สองมาตรฐานและอคติเหมารวมต่อผู้หญิงมุสลิม – Dalia Mogahed

รายงานของฮิวแมนไรท์วอทช์ระบุว่า กองกำลังต่อต้านของพระเจ้า (Lord’s Resistance Army : LRA) ซึ่งเป็นกองกำลังติดอาวุธในยูกันดาได้ลักพาตัวและสังหารผู้คนหลายหมื่นคนในช่วงทศวรรษ 1990 และ 2000 โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างรัฐตามบัญญัติ 10...

ตอลิบานรีเทิร์น หรือจะเป็นระเบิดเวลาความขัดแย้งในสังคมไทย?

ตอลิบานยึดอำนาจปกครองประเทศไปแล้ว 5 วัน แต่ดูเหมือนเสียงวิพากษ์วิจารณ์จะยังคงดังไม่หยุดหย่อนจนแทบกลายเป็นสงครามย่อมๆ ของฝ่ายหนุนและฝ่ายต้านตอลิบานที่ปะทะความคิดกันอยู่บนโลกออนไลน์ ทันทีที่ยึดอำนาจสำเร็จ...

เรื่องราวของหญิงชาวอุยกูร์ในออสเตรเลีย ที่สามีถูกทางการจีนจับข้อหาแบ่งแยกดินแดน

Mehray Mezensof คือหญิงชาวเมลเบิร์นประเทศออสเตรเลีย เธอแต่งงานมาแล้วห้าปีแต่แทบไม่เคยได้อยู่กับสามีเลย เพราะเขาต้องถูกจับเข้าและปล่อยออกจากค่ายกักกันในเขตซินเจียงทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีนหลายต่อหลายครั้ง...

กรีดร้องกลางดึก : ฝันร้ายจากจิตใจอันบอบช้ำของเด็กในกาซ่าที่ต้องเผชิญความรุนแรงของอิสราเอลตลอดหลายปีที่ผ่านมา

ขณะที่ฉนวนกาซ่ากำลังอยู่ในช่วงฟื้นฟูจากการโจมตี 11 วันของอิสราเอล เหล่าแม่ๆ ชาวปาเลสไตน์และเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพจิตต่างก็กังวลว่า ผลกระทบทางจิตใจจากความรุนแรงจะยังคงฝังลึกอยู่ในตัวเด็กๆ...

รถขายทาโก้ทุกมัสยิด : โปรเจคต์สร้างความเข้าใจระหว่างมุสลิมและชาวลาตินในสหรัฐอเมริกา

สหรัฐอเมริกาในยุคสมัยของโดนัลด์ ทรัมป์ นั้นเต็มไปด้วยนโยบายสร้างผลกระทบให้กับผู้คนจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือนโยบายห้ามมุสลิมบางชาติเดินทางเข้าประเทศและนโยบายกีดกัดผู้อพยพที่ส่วนใหญ่เป็นชาวลาติน...

ชาวฮินดูในอินเดียถือศีลอดเดือนรอมฎอน เพื่อแสดงความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกับเพื่อนมุสลิม

ช่วงต้นทศวรรษ 1990 – Shivaji Khairnar อายุเพียง 9 ขวบในช่วงที่เกิดการจลาจลระหว่างฮินดูและมุสลิมในมุมไบที่เขาอยู่อาศัย เหตุการณ์วันนั้นทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 900 คน และในฐานะลูกหลานชาวฮินดูเขาได้รับคำสั่งห้ามเล่นกับเด็กมุสลิม...

การเมืองเรื่องครัวซองต์ ขนมอบฝรั่งเศสที่ตำนานการถือกำเนิดผูกโยงกับความพ่ายแพ้ของมุสลิม

ครัวซองต์เข้ามาในเมืองไทยเมื่อไหร่อันนี้ไม่รู้ แต่ที่รู้คือชั่วโมงนี้ประเทศไทยไม่มีอะไรจะฮอตฮิตเกินหน้าเกินตาเจ้าขนอมอบรูปจันทร์เสี้ยวอย่างครัวซองต์ไปได้อีกแล้ว เพราะไม่ว่าจะไปเดินเล่นย่านไหน หรือไปนั่งหย่อนจิตหย่อนใจใด...

เนื้อสัตว์เพาะเลี้ยงฮาลาลหรือไม่ ความท้าทายใหม่ของมุสลิมเมื่อเนื้อสัตว์เพาะได้ในห้องแล็บ

หากคุณทำสเต็กจากเนื้อวัว แต่เนื้อไม่ได้มาจากวัวที่ถูกเชือด คุณคิดว่าสเต็กจานนั้นจะฮาลาลหรือไม่? สำหรับบางคนคำถามนี้อาจฟังดูไม่สำคัญ ตราบใดที่ยังมีเนื้อฮาลาลที่มาจากการเชือดให้กิน...

100 ปีสงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามสิ้นสุดแต่ความขัดแย้งในโลกมุสลิมยังคงดำเนินต่อ

วันที่ 11 เดือน 11 ไม่เพียงแต่เป็นวันคนโสดที่ แจ๊ค หม่า แห่งอาลีบาบาโกยเงินไปแปดแสนล้านบาทภายในเวลา 24 ชม. เท่านั้น แต่วันที่ 11 เดือน 11 เวลา 11 นาฬิกา ของเมื่อ 100 ปีก่อนยังเป็นวันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1...

ฮิญาบไม่ใช่ปัญหา มุสลิมะฮ์อียิปต์หวังเป็นคนแรกคลุมฮิญาบพิชิตเอเวอร์เรสต์

ไม่น่าเชื่อว่าในยุคสมัยที่ผู้คนป่าวประกาศว่าการยอมรับความแตกต่างหลากหลายคือหนทางของผู้เจริญ กลับยังมีบางคนตัดสินว่าฮิญาบเป็นปัญหาและปิดกั้นความสามารถของผู้หญิง Manal Rostom...

มัสยิดลาซาในทิเบต มัสยิดที่ตั้งอยู่สูงที่สุดในโลก อายุ 300 ปี

บนความสูงกว่า 3,650 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ในเขตปกครองตนเองทิเบต มีมัสยิดหลังหนึ่งตั้งตระหง่านมากว่า 300 ปี มัสยิดหลังนี้มีชื่อว่า Lhasa Great Mosque หรือมัสยิดใหญ่ลาซา ตั้งอยู่ในเมืองลาซา เมืองหลวงของเขตปกครองตนเองทิเบต ประเทศจีน...

ปู ไปรยา เยี่ยมผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาในบังคลาเทศ ชื่นชมความเข้มแข็งและกล้าหาญ

“ปู – ไปรยา” ดารานักแสดง ในฐานะทูตสันถวไมตรี เดินทางไปเยี่ยมผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา ณ ค่ายกูตูปาลอง ประเทศบังคลาเทศ ที่ต้องรองรับจำนวนผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญามากถึง 9 แสนคน ถือเป็นค่ายผู้ลี้ภัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก...

ร้านอาหารมุสลิมในกรุงวอชิงตัน เปิดให้คนไร้บ้านกินฟรีทุกวัน

จากคนยากจนในปากีสถาน สู่การเป็นเจ้าของร้านอาหารฮาลาลในกรุงวอชิงตันดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้เลี้ยงอาหารฟรีแก่คนไร้บ้านเพื่อระลึกถึงคำสอนของผู้เป็นแม่ “ผมภาวนาต่อพระเจ้าว่า หากผมมีร้านอาหารของตัวเอง ผมจะช่วยเหลือคนไร้บ้าน” Kazi...

ภาพถ่ายครอบครัวชาวเยเมนที่ต้องอาศัยในซากปรักหักพังของบ้านตัวเอง

สงครามในเยเมนวิกฤติด้านมนุษยธรรมครั้งใหญ่ที่สุดในโลก ความขัดแย้งอันโหดร้ายในเยเมนก้าวเข้าสู่ปีที่สี่ เสียงการโจมตีทางอากาศยังคงเป็นดั่งนาฬิกาที่ปลุกให้หลายครอบครัวตื่นขึ้นในแต่ละวัน การโจมตีที่อยู่อาศัย โรงพยาบาล...