fbpx

Category - Halal Classic

บะเราะกะฮฺ ข่าน : แม่ทัพมองโกล ผู้เป็นหลานของเจงกิสข่าน และผู้ปกป้องศาสนาอิสลาม

หากพูดถึง “มองโกล” สิ่งแรกที่หลายคนนึกถึงอาจเป็นความโหดร้ายและป่าเถื่อนในการทำสงครามรุกรานหลายดินแดน ไล่ตั้งแต่เอเชียไปยันแผ่นดินยุโรป ว่ากันว่าการทำสงครามขยายดินแดนของกองทัพมองโกลในช่วงเวลานั้นมีคนเสียชีวิตไปไม่ต่ำกว่า 30 ล้านคน...

บัยตุ้ลฮิกมะห์ อดีตคลังปัญญาโลกที่เก็บบันทึกขุมทรัพย์ทางปัญญาและอารยธรรมมนุษย์

สงครามไม่เพียงสร้างความสูญเสียให้แก่ชีวิตของผู้คนเท่านั้น แต่สงครามยังทำลายหลายอย่างให้ย่อยยับลงไปด้วย ไม่เว้นแม้แต่ขุมทรัพย์ทางปัญญาและอารยธรรมมนุษย์ของหลายมหานครที่เคยยิ่งใหญ่เมื่อครั้งอดีต และหนึ่งในนั้น ‘แบกแดด’...

ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์มุสลิมบอสเนีย ความโหดร้ายใจกลางยุโรปที่โลกไม่ค่อยพูดถึง

11 กรกฎาคม 2561 คือวันบรรจบครบรอบ 23 ปีแห่งจุดเริ่มต้นโศกนาฏกรรมสังหารหมู่เซรเบรนิสซา (Srebrenica massacre) ที่เกิดขึ้นในช่วงสงคราม “เซิร์บ-บอสเนีย”...

อิสลามและญี่ปุ่น : การเดินทางอันยาวนานของอิสลามสู่แดนอาทิตย์อุทัย

ในอดีต ญี่ปุ่นถือเป็นดินแดนไกลโพ้นอันเร้นลับสำหรับนักเดินทาง นักสำรวจ พ่อค้าพาณิชย์ และนักปราชญ์จากทั่วทุกมุมโลกมาตลอดหน้าประวัติศาสตร์ ความไกลสุดหล้าของดินแดนแห่งนี้ทำให้บางคนใฝ่ฝันที่จะโอกาสทำความรู้จักและเยี่ยมเยือนสักครั้งในชีวิต...

Mohammad Dollie ชายผู้สร้างมัสยิดแห่งแรกในกรุงลอนดอน

เราอาจคิดกันว่า ในดินแดนที่เป็นดั่งต้นทางอารยธรรมตะวันตกอย่างเช่นอังกฤษ กลิ่นอายของความเป็นอิสลามคงหาดูได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคสมัยที่โลกยังไม่เข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์และสังคมส่วนใหญ่ยังไม่ได้เปิดกว้างต่อความเป็นพหุวัฒนธรรมมากนัก...

ไวกิงและมุสลิม : 5 ข้อเท็จจริงที่คุณอาจจะต้องประหลาดใจ

ย้อนกลับไปเมื่อเดือนมีนาคมของปี 2015 มีข่าวการค้นพบแหวนวงหนึ่งบนซากศพของหญิงชาวไวกิงในหลุมฝังศพโบราณแห่งหนึ่งในยุโรป แหวนวงนั้นมีคำภาษาอาหรับสลักคำว่า “เพื่ออัลลอฮ” เอาไว้  ข่าวนี้กลายเป็นที่ฮือฮาบนสื่อกระแสหลักของยุโรปในช่วงนั้น...

มุสลิมอังกฤษยุควิคตอเรีย ผู้เผยแผ่สาสน์อิสลามสู่สังคมตะวันตก

วิลเลี่ยม เฮ็นรี่ ควิลเลี่ยม (William Henry Quilliam) และ มาร์มาดูค วิลเลี่ยม พิคธัล (Marmaduke William Pickthall) เป็นสุภาพบุรุษชาวอังกฤษสองท่านที่มีชีวิตอยู่ในศตวรรษที่ 19 หรือยุคสมัยของพระราชินีวิคตอเรีย...

เมื่อโลกพูดอาหรับ : 5 บทบาทที่สะท้อนความสำคัญของภาษาอาหรับเมื่อครั้งอดีต

เมื่อครั้งที่ยุคทองแห่งอารยธรรมอิสลามขึ้นสู่จุดสูงสุด ภาษาอาหรับเคยเป็นภาษากลางที่มีบทบาทต่อศาสตร์สำคัญต่างๆ มากมาย ภาษาอาหรับเป็นทั้งภาษาแห่งวิทยาศาสตร์ ภาษาแห่งบทกวีและวรรณกรรม ภาษาแห่งการเมืองการปกครอง และเป็นภาษาแห่งศิลปะ...

การเดินทางของกาแฟ จากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในโลกลี้ลับ สู่ความสามัญในโลกสมัยใหม่

การดื่มกาแฟอาจเป็นเพียงกิจกรรมธรรมดาสามัญสำหรับใครหลายคน แต่จะมีซักกี่คนที่รู้ถึงความเป็นมาหรือเรื่องราวของกาแฟที่เราดื่มกันอยู่ทุกวันนี้ Steven Topik จึงช่วยสะกิดเราให้ระลึกว่า ครั้งหนึ่งในยุคสมัยที่ผ่านมา เมล็ดกาแฟเคยเป็นตัวแทนแห่งจิตวิญญาณ...

Al-Idrisi บิดาแห่งภูมิศาสตร์ ผู้เปลี่ยนมุมมองให้โลก

             หากกล่าวถึง “บิดา” ผู้เชี่ยวชาญและเป็นอัจฉริยะแห่งศาสตร์ต่างๆ ในโลกใบนี้ ก็คงมีชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์มากมายที่ถูกนึกถึง แต่จะมีสักกี่คนที่รู้ว่า “มุสลิม” เรานั้นก็เป็นผู้มีบทบาทที่เปลี่ยนแปลงโลกด้วยเช่นกัน  ...

อิบนิ ค็อลดูน บิดาแห่งประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา และเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่

อิบนิ ค็อลดูน (Ibn Khaldun) เป็นชาวอาหรับมุสลิม เป็นนักประวัติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์นิพนธ์ที่นับได้ว่าเป็นบิดาแห่งสังคมวิทยา, ประวัติศาสตร์นิพนธ์ และเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ ท่านเป็นชาวตูนิเซียแห่งทวีปแอฟริกาเหนือ จุดเริ่มต้นและหนังสือ...

อิหม่ามบุคอรี นักบันทึกฮะดิษชื่อดังแห่งประวัติศาสตร์อิสลาม

อิหม่ามบุคอรี เป็นหนึ่งในนักปราชญ์แห่งฮะดิษ(วจนะและการกระทำของศาสนทูต)ที่เลื่องลือที่สุดแห่งประวัติศาสตร์อิสลาม หนังสือ Sahih al-Bukhari ของท่านที่กล่าวถึง วจนะ การกระทำ และกิจวัตรของท่านศาสนทูตมุฮัมหมัด (ซ.ล.)...

Okoso-Zukin ฮิญาบฤดูหนาวของหญิงชาวญี่ปุ่นในอดีต

Okoso-Zukin (御高祖頭巾) เป็นวัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีชาวญี่ปุ่นในสมัยก่อน มีลักษณะเป็นผ้าคลุมศีรษะที่ใช้สำหรับเวลาออกนอกบ้าน ซึ่งดูคล้ายกับการคลุมฮิญาบของผู้หญิงมุสลิม Okoso-Zukin ทำจากผ้าไหม เป็นที่นิยมครั้งแรกในยุคสมัย Kyoho (1716-1736)...

หวนคิดถึงวันวานของซีเรีย ดินแดนที่อบอวลด้วยกลิ่นหอมของดอกมะลิและถั่วพิตาชิโอ

จู่ๆ ผู้คนทั้งโลกต่างก็รู้ว่าซีเรียตั้งอยู่แห่งหนใดบนแผนที่โลก  จู่ๆ ทุกคนต่างก็ทำตามตัวราวกับเป็นผู้เชี่ยวชาญและช่ำชองในเรื่องราวของดินแดนนี้ แต่หากถามว่าพวกเขารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับซีเรีย...

“ดั่งสวรรค์บนดิน” ซีเรีย ในสายตาของเหล่านักเดินทางในอดีต

มาทำความรู้จัก อิบนุบัตตูเตาะห์ (Ibn Battuta)  กันก่อน อิบนุบัตตูเตาะห์ เป็นนักกฎหมายวิชาชีพชาวมุสลิมจากเมือง Tangier ประเทศโมร็อคโคมีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 14 เมื่ออายุได้เพียง 20  ปีในคริสต์ศักราช 1325...

ทางรถไฟสายฮิญาจซ์ ความฝันที่ถูกทำลายของอาณาจักรออตโตมัน

ก่อนที่โลกจะรู้จักกับเครื่องบิน การเดินทางไปยังเมืองมักกะห์ ประเทศซาอุดิอารเบีย เพื่อประกอบพิธีฮัจญ์นั้น เป็นเรื่องยากลำบากและใช้เวลาในการเดินทางยาวนานมาก ทางรถไฟสายฮิญาจซ์ (Hijaz railway)...

5 ผลงานมุสลิมในอดีตที่สร้างคุณูปการแก่สังคมจวบจนปัจจุบัน

ตลอดหน้าประวัติศาสตร์อิสลามเต็มไปด้วยเรื่องราวการบุกเบิก การค้นพบ และการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่มากมาย หลายอย่างฝังรากลึกและกลายเป็นวัฒนธรรมสากลของผู้คนในยุคสมัยปัจจุบัน ดัง 5 ตัวอย่างนี้ที่เป็นผลงานการริเริ่มของมุสลิมในอดีต...

กองทหารสุดท้ายของมุสลิมที่ปกป้อง “มัสยิดอัล-อักซอ”

ปาเลสไตน์เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมัน(อุษมานียะฮ์)เป็นเวลาสี่ศตวรรษก่อนจะเสียดินแดนให้กับอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในครั้งนั้นทหารของออตโตมันได้ต่อสู้อย่างสุดกำลังเพื่อปกป้องเยรูซาเล็มจากการโจมตีของกองทัพอังกฤษ...

20 ภาพอดีตหาดูยาก ของชาวมุสลิมเอเชียกลางช่วงปี 1910

ภาพถ่ายหาดูยากของชาวมุสลิมเอเชียกลางในยุคอดีต ดินแดนเหล่านี้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้อิสลาม และเป็นบ้านเกิดของนักวิชาการอิสลามที่สำคัญอย่าง อิหม่ามบุคอรี และ ติรมีซี ในระหว่างปี 1909 และ  1912  ช่างภาพ Sergei Prokudin-Gorskii...

อิบนฺ อัลฮัยซัม นักวิทยาศาสตร์มุสลิมผู้วางพื้นฐานกล้องถ่ายภาพ

คุณรู้หรือไม่ ภาพถ่ายที่สวยงามหรือภาพวิดีโอที่บันทึกช่­วงเวลาดีๆของชีวิต มีพื้นฐานมาจากการคิดค้นของชาวมุสลิม ในยุคกลางที่ฟากยุโรปเข้าสู่ยุคมืด ผู้คนในยุคปัจจุบันต่างเชื่อว่าโลกทั้งโลก­ตกอยู่ในยุคมืดเช่นยุโรป แต่คุณรู้หรือไม่ว่า...