fbpx

Author - Furqan Ismael

Qahwah House: ร้านกาแฟฮาลาลในสหรัฐอเมริกา ที่ขายวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์เยเมน

ครั้งแรกที่ Husam Kaid ได้ลองดื่ม Adeni chai (ชาเยเมน) ที่ร้าน Qahwah House มันทำให้เขาหวนคิดถึงค่ำคืนเดือนรอมฎอนในเมืองเก่าซานา ประเทศเยมน มันเป็นประเพณีของหมู่บ้าน ที่เหล่าเด็กๆ...

Karim’s Restaurant จากอาหารในครัวพระราชวังโมกุล สู่สตรีทฟู้ดส์อินเดียระดับตำนาน

ด้วยความที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน อินเดียจึงเป็นต้นธารวัฒนธรรมของหลายชาติในโลกตะวันออก และด้วยความที่เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของหลายอารยธรรม อินเดียจึงเป็นประเทศที่เต็มไปด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม...

The Halal Guys จากรถเข็นขายอาหารฮาลาลในนิวยอร์ค สู่แฟรนไชส์ร้านอาหารชั้นนำของโลก

ขณะที่คนไทยบางกลุ่มหวาดกลัวและต่อต้านอาหารฮาลาล แต่ที่สหรัฐอเมริกามีร้านอาหารฮาลาลร้านหนึ่งครองใจผู้คนมาแล้วกว่า 30 ปี จนถูกยกให้เป็นหนึ่งในตำนานอาหารฮาลาลแบบอเมริกันที่ควรลิ้มลองให้ได้สักครั้งในชีวิต...

ข้าวหมกไก่มาจากไหน ทำไมถึงกลายมาเป็นอาหารอิสลามในประเทศไทย

            หากเราเชื่อว่าอาหารคือหนึ่งในตัวบ่งชี้ทางวัฒนธรรมที่ช่วยให้เรารู้จักและเข้าใจกันมากยิ่งขึ้น แล้วเราเคยสงสัยไหมว่า ข้าวหมกไก่มาจากไหน ทำไมคนส่วนใหญ่ถึงคิดว่าข้าวหมกไก่เป็นอาหารอิสลาม ทั้งๆ...

แช่ม พรหมยงค์ : สมาชิกคณะราษฎรและจุฬาราชมนตรีคนแรกในระบอบประชาธิปไตย

ประวัติศาสตร์ชาติไทยบันทึกเอาไว้ว่าตำแหน่งจุฬาราชมนตรีนั้นมีมายาวนานนับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยผู้ดำรงตำแหน่งจุฬาราชมนตรีคนแรกเท่าที่มีหลักฐานสืบค้นตัวตนได้คือ เจ้าพระยาบวรราชนายก หรือเฉกอะหมัด มุสลิมชีอะห์เชื้อสายเปอร์เซีย...

ปรัชญ์ พิมานแมน : ศิลปินหนุ่มที่หวังฟื้นคืนชีวิตให้เมืองนราธิวาสด้วยสุนทรียะและอาร์ตสเปซ

อ.ปรัชญ์ พิมานแมน เกิดที่กรุงเทพฯ แต่ย้ายตามครอบครัวไปอยู่นราธิวาสตั้งแต่เด็ก เรียนอนุบาล ประถม และมัธยมที่นราธิวาส ก่อนจะไปต่อปริญญาตรีด้านศิลปะที่ มอ.ปัตตานี ปัจจุบันกำลังทำปริญญาเอกด้านศิลปะอยู่ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร...

นูรฮีซาม บินมามุ : นักอนุรักษ์ที่ชวนเยาวชนมาเห็นคุณค่าของป่าฮาลา-บาลา นกเงือก และอำเภอแว้ง

นูรฮีซาม บินมามุ หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ซัม ยังยิ้ม” เกิดและเติบโตท่ามกลางธรรมชาติและเรื่องเล่าในอดีตของ อ.แว้ง จ.นราธิวาส เป็นผู้ก่อตั้ง “ยังยิ้ม” กลุ่มเยาวชนใน อ.แว้ง ที่โดดเด่นเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติโดยเฉพาะเรื่องราวของนกเงือก ‘ซัม’...

Budu Little : จากผู้ต้องสงสัยวางระเบิด สู่นักกิจกรรมที่จับกีตาร์ขับกล่อมบทเพลงเพื่อสันติภาพ

Budu Little หรือ ซุลกิฟลี กาแม เป็นนักร้องนักดนตรีที่ได้รับความนิยมในเป็นอย่างมากหมู่เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นเจ้าของบทเพลงภาษามาลายูอย่าง Sebalik Kegelapan ที่พูดถึงความหวังหลังจากความยากลำบาก แต่ก่อนจะกลายมาเป็น Budu Little...

ฮุซนา สุไลมาน : นักเดินทางที่กลับบ้านไปรับช่วงต่อกิจการและดูแลสวรรค์ในบ้าน

ฮุซนา สุไลมาน เป็นทายาทร้านหนังสือสุไลมาน หนึ่งในร้านหนังสือเก่าแก่ของจังหวัดปัตตานีที่ยังคงดำเนินกิจการ เธอเกิดและใช้ชีวิตวัยเด็กช่วงสั้นๆที่อเมริกา ก่อนครอบครัวจะพาเธอกลับมาเติบโตที่ปัตตานีแผ่นดินเกิดของวงศ์ตระกูล...

ปาริ แวอิสอ : บุรุษไปรษณีย์ปัตตานีผู้ส่งต่อความงามของพื้นที่สีแดง

ปาริ แวอิสอ หรือที่หลายคนรู้จักในชื่อ แบปาริ เป็นชาวบางปู อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี มีอาชีพหลักเป็นบุรุษไปรษณีย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2538 แต่หลังเกิดสถานการณ์ความไม่สงบในปี 47...

ฮาดี้และซัลมา : คู่รักที่เข้าใจและยอมรับความไม่สมบูรณ์แบบของกันและกัน

กดปุ่มรีไวน์ย้อนกลับไปในปี 2546 ฮาดี้ บุญยงค์ ที่นิยามตัวเองว่าเป็นหนุ่มวัยรุ่นมุสลิมกรุงเทพฯ เปิดอ่านนิตยสารมุสลิมชื่อ Deen Diary แล้วไปสะดุดกับชื่อทีมงานหญิงสาวคนหนึ่ง นามสกุลเธอฟังดูแปลกหูดี-เขาบอก ในปีเดียวกัน ซัลมา บุญตามทัน...

เพราะชีวิต คือการเดินทาง

เริ่มด้วยการขอมะอัฟ(ขอโทษ)สมาชิกและผู้อ่านกันก่อนนะครับ สำหรับความล่าช้าในฉบับนี้ ที่ในความเป็นจริงควรจะออกมาให้อ่านกันตั้งแต่เดือนรอมฎอนที่ผ่านมาแล้ว แต่เนื่องจากรอมฎอนปีนี้...

เพราะความฝันไม่มีขา มันจึงเดินมาหาเราเองไม่ได้

“ผมชอบคำว่า “ยืนระยะ” มันมีความหมายว่าอยู่ทน อยู่นาน อยู่อย่างเอาจริงเอาจังกับสิ่งที่คิด ที่เชื่อ พูดตรงๆ โต้งๆ ก็คืออุทิศชีวิตให้ ไม่ใช่ทำเอามัน หรือเพียงแวะมาตากอากาศ” คำพูดเท่ห์ๆ ในย่อหน้าด้านบนไม่ใช่ของผมหรอกครับ...